ผลการรักษาของกุลพัฒน์คลินิก
การตั้งครรภ์และการคลอดหลังจากการปฏิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อน
• การปฏิสนธินอกร่างกายและการย้ายตัวอ่อน
94% ของผู้ที่กระตุ้นไข่จะมีไข่โตมากพอจะสามารถทำการเก็บไข่ได้ โดย 6% ที่เหลือที่ไม่ได้เก็บไข่ มักเกิดจากกระตุ้นไข่ได้ไข่ที่สุกเต็มที่จำนวนไม่เพียงพอ
90% ของผู้ที่ได้เก็บไข่ จะได้ทำการย้ายตัวอ่อนสู่โพรงมดลูก ส่วนใน 12% ที่ไม่ได้ย้ายตัวอ่อนมักเกิดจากผู้ป่วยมีภาวะรังไข่ถูกกระตุ้นมากเกินไป ET หรือผู้ป่วยยังไม่สะดวกทำการย้ายตัวอ่อน
หลังจากย้ายตัวอ่อนแล้ว 35% จะตรวจพบมีการตั้งครรภ์จากเลือดหรือปัสสาวะ และมี 31% ที่ตรวจพบการตั้งครรภ์จากการตรวจอุลตร้าซาวน์ทางช่องคลอด
การตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดพบว่า 1.5% เป็นการท้องนอกมดลูก 20% เกิดการแท้ง และ 78% เป็นการตั้งครรภ์จนถึงเกิดมีชีพและ 20% ของกลุ่มที่เกิดมีชีพเป็นทารกแฝด
94% ของผู้ที่กระตุ้นไข่จะมีไข่โตมากพอจะสามารถทำการเก็บไข่ได้ โดย 6% ที่เหลือที่ไม่ได้เก็บไข่ มักเกิดจากกระตุ้นไข่ได้ไข่ที่สุกเต็มที่จำนวนไม่เพียงพอ
90% ของผู้ที่ได้เก็บไข่ จะได้ทำการย้ายตัวอ่อนสู่โพรงมดลูก ส่วนใน 12% ที่ไม่ได้ย้ายตัวอ่อนมักเกิดจากผู้ป่วยมีภาวะรังไข่ถูกกระตุ้นมากเกินไป ET หรือผู้ป่วยยังไม่สะดวกทำการย้ายตัวอ่อน
หลังจากย้ายตัวอ่อนแล้ว 35% จะตรวจพบมีการตั้งครรภ์จากเลือดหรือปัสสาวะ และมี 31% ที่ตรวจพบการตั้งครรภ์จากการตรวจอุลตร้าซาวน์ทางช่องคลอด
การตั้งครรภ์ที่เกิดขึ้นทั้งหมดพบว่า 1.5% เป็นการท้องนอกมดลูก 20% เกิดการแท้ง และ 78% เป็นการตั้งครรภ์จนถึงเกิดมีชีพและ 20% ของกลุ่มที่เกิดมีชีพเป็นทารกแฝด